ลำดับ | กระบวนการ/ขั้นตอน | เอกสาร/เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง | ตัวอย่าง | เกณฑ์มาตรฐาน |
1 | สำนักวิชา/วิทยาลัย เสนอรายชื่อหลักสูตรที่จะเปิดใหม่มายังส่วนแผนงานและยุทธศาสตร์ เพื่อบรรจุเข้าแผนการรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย | |||
2 | สำนักวิชา/วิทยาลัย เสนอโครงการศึกษาความเป็นไปได้และพัฒนาหลักสูตรใหม่ มายังศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอนเพื่ออนุมัติงบประมาณ ทั้งนี้ขอให้เสนอมาล่วงหน้าอย่างน้อยหนึ่งปีงบประมาณก่อนจะดำเนินการโครงการ | |||
3 | สำนักวิชา/วิทยาลัย เสนอรายชื่อคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรใหม่ต่อคณะกรรมการประจำสำนักวิชา/วิทยาลัย และนำเสนอมายังศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอน เพื่อออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรใหม่ | |||
4 | สำนักวิชา/วิทยาลัย จัดทำรายงานศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตรใหม่ และ (ร่าง) รายละเอียดของหลักสูตรใหม่ (มคอ.2) เสนอคณะกรรมการประจำสำนักวิชา/วิทยาลัย และที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการ สภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยเพื่ออนุมัติหลักสูตร |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
||
5 | กรณีหลักสูตรต้องการวิเคราะห์ต้นทุนนักศึกษาต่อหัว และกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมของหลักสูตร ให้ประสานงานไปยังส่วนแผนงานและยุทธศาสตร์ | |||
6 | เมื่อสภาวิชาการเห็นชอบ และสภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรแล้ว ศูนย์นวัตกรรมนำไฟล์เล่มหลักสูตรแสดงไว้หน้าเว็บศูนย์ฯ และแจ้งศูนย์บริการการศึกษาเพื่อประกาศรับนักศึกษา | |||
7 | ศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอน ประสานสำนักวิชา/วิทยาลัยเพื่อนำรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ลงในระบบ CHECO |
แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน (Flowchart)
หมายเหตุ: ใช้เม้าชี้เพื่อขยายภาพ/เอาเม้าออกเมื่อยกเลิกขยายภาพ
>> ดาวน์โหลดขั้นตอนการปรับปรุงหลักสูตรแบบกระทบโครงสร้างหลักสูตร
แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน (Flowchart)
หมายเหตุ: ใช้เม้าชี้เพื่อขยายภาพ/เอาเม้าออกเมื่อยกเลิกขยายภาพ
ขั้นตอนการปรับปรุงหลักสูตรแบบเล็กน้อย กรณีปรับปรุงแก้ไขอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร
ขั้นตอนการปรับปรุงหลักสูตรแบบเล็กน้อย กรณีเปลี่ยนแปลงรหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา การเพิ่ม-ลดรายวิชา การปรับคำอธิบายรายวิชา
ลำดับ | กระบวนการ/ขั้นตอน | เอกสาร/เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง | ตัวอย่าง | เกณฑ์มาตรฐาน |
1 | หลักสูตรเสนอรายชื่ออาจารย์พิเศษ ต่อคณะกรรมการประจำสำนักวิชา/วิทยาลัย ก่อนเปิดภาคการศึกษาที่จะสอนอย่างน้อย 2 สัปดาห์ | |||
2 | สำนักวิชาเสนอนำส่งข้อมูลการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษยังศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอน เพื่อออกคำสั่งแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ กรณีสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา |
![]() ![]() |
||
3 | ศูนย์นวัตกรรมตรวจสอบคุณสมบัติ และนำเสนอรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผ่านงานกลั่นกรองเพื่อดำเนินการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ และแจ้งให้สำนักวิชารับทราบทางระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ | |||
4 | ศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอน สรุปผลการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษรายงานต่อที่ประชุมเสวนาคณบดี |
ลำดับ | กระบวนการ/ขั้นตอน | เอกสาร/เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง | ตัวอย่าง | เกณฑ์มาตรฐาน |
1 | หลักสูตรเสนอรายชื่ออาจารย์พิเศษ ต่อคณะกรรมการประจำสำนักวิชา/วิทยาลัย ก่อนเปิดภาคการศึกษาที่จะสอนอย่างน้อย 4 สัปดาห์ |
![]() ![]() |
||
2 | สำนักวิชาเสนอนำส่งข้อมูลการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ กรณีสอนเกินร้อยละ 50 ของรายวิชายังศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอน เพื่อนำเสนอสภาวิชาการเพื่อพิจารณา และสภามหาวิทยาลัยเพื่อทราบต่อไป | |||
3 | ศูนย์นวัตกรรมตรวจสอบคุณสมบัติ และนำเสนอรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผ่านงานกลั่นกรองเพื่อดำเนินการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ และแจ้งให้สำนักวิชารับทราบทางระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ | |||
4 | ศูนย์นวัตกรรมการเรียนและการสอน สรุปผลการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษรายงานต่อที่ประชุมเสวนาคณบดี |
ลำดับ | กระบวนการ/ขั้นตอน | เอกสาร/เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง | ตัวอย่าง | เกณฑ์มาตรฐาน |
1 | คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรดำเนินการจัดทำข้อมูลการปิดหลักสูตรในแบบฟอร์มเสนอปิดหลักสูตร ทั้งนี้ จะต้องตรวจสอบว่าหลักสูตรที่จะขอปิดไม่มีนักศึกษากำลังศึกษาอยู่ในหลักสูตรในเวลานั้น |
![]() ![]() |
||
2 | คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรเสนอการขอปิดหลักสูตรต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำสำนักวิชาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ | |||
3 | สำนักวิชานำเสนอหลักสูตรที่ขอปิดต่อที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการเพื่อพิจารณา | |||
4 | ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการวิชาการจัดทำวาระและเอกสารการขอปิดหลักสูตรต่อที่ประชุมสภาวิชาการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ | |||
5 | ศนร.ดำเนินการจัดทำวาระและเอกสารการขอปิดหลักสูตรต่อที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ | |||
6 | ศนร.ติดตามรายงานการอนุมัติการปิดหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยและจัดทำหนังสือพร้อมเอกสารการขอปิดหลักสูตรฉบับสภา มวล. อนุมัติและแจ้ง ศบศ. และสำนักวิชาผ่านระบบ e-office เพื่อทราบเพื่อเป็นข้อมูลดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป | |||
7 | ศนร.จัดทำหนังสือเสนอ สกอ. เพื่อแจ้งการปิดหลักสูตรฉบับสมบูรณ์ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ (ทั้งนี้ หลักสูตรจะต้องได้รับการพิจารณารับทราบจาก สกอ. เรียบร้อยแล้ว) |
แบบฟอร์มการตรวจสอบหลักสูตร/อาจารย์ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2565
แบบฟอร์มการตรวจสอบหลักสูตร/อาจารย์ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558
ลำดับ | กระบวนการ/ขั้นตอน | เอกสาร/เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง | ตัวอย่าง | เกณฑ์มาตรฐาน |
10 | ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการวิชาการออกหนังสือรวบรวมวาระการประชุมและกำหนดการเสนอวาระโดยดำเนินการแจ้งหน่วยงานผ่านระบบ DOMs ทุกเดือน | |||
11 | หน่วยงานพิจารณาความเหมาะสมของวาระที่ประสงค์จะเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการในแต่ละเดือน โดยพิจารณาวางแผนการดำเนินงานเพื่อให้สามารถเสนอวาระได้ตามระยะเวลาที่กำหนดของการรวบรวมวาระ | |||
12 | นำเรื่องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำสำนักวิชา/วิทยาลัย/หน่วยงาน (ก่อนกำหนดการขอรวบรวมวาระ) | |||
13 | จัดทำหนังสือเสนอวาระต่อเลขานุการคณะกรรมการวิชาการ ลงนามโดยผู้บังคับบัญชาของสำนักวิชา/วิทยาลัย/หน่วยงาน พร้อมแนบใบนำวาระและเอกสารประกอบการพิจารณาอย่างครบถ้วน เสนอไปยังฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการวิชาการผ่านระบบ DOMs ทั้งนี้ จะต้องเสนอวาระก่อนถึงกำหนดวันประชุมคณะกรรมการวิชาการให้แล้วเสร็จอย่างช้า 8 วันทำการ | |||
14 | เลขานุการคณะกรรมการวิชาการพิจารณาความเหมาะสมเพื่อนำเรื่องบรรจุวาระการประชุมคณะกรรมการวิชาการในแต่ละรอบการประชุม ทั้งนี้ หากเสนอวาระเลยระยะเวลาที่กำหนดจะนำเรื่องไปบรรจุวาระการประชุมครั้งถัดไป | |||
15 | ผู้ช่วยเลขนุการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเอกสารและจัดทำวาระการประชุมบรรจุในระบบ e-Meeting | |||
16 | เลขานุการคณะกรรมการวิชาการตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบวาระการประชุม และกลั่นกรอง/ให้ข้อเสนอแนะถึงประกาศ/เกณฑ์/ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง | |||
17 | ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการวิชาการดำเนินการ ดังนี้ 1) ส่งวาระในระบบ e-Meeting ให้กรรมการและผู้แถลงวาระทุกท่าน ก่อนวันประชุม 7 วัน 2) จัดใบเซ็นชื่อ 3) จัดเตรียมอาหารว่างรับรองการประชุม 4) ติดตามการเข้าประชุมของกรรมการ | |||
18 | ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการวิชาการจัดทำสรุปรายงานการประชุมแจ้งกรรมการเพื่อพิจารณารับรอง ภายหลังการประชุม 7 วันทำการ | |||
19 | ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการวิชาการติดตามการแก้ไขเอกสารตามข้อเสนอแนะของกรรมการจากหน่วยงานและจัดทำวาระเสนอสภาวิชาการต่อไป |
6. แบบฟอร์มหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Degree) ![]() ![]() |
7. แบบฟอร์มหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) ![]() ![]() |
8. เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการสร้างบัณฑิตและอาชีวะพันธุ์ใหม่ เพื่อพัฒนากำลังคนสำหรับ EEC ในการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์อุดม คชินทร ![]() ![]() |
9. การพัฒนาบุคลากรใน EEC ![]() ![]() |
10. ข้อมูลเพิ่มเติมจาก EEC ![]() ![]() |
11. สรุปเนื้อหาการประชุมหารือ เรื่อง การสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่เพื่อพัฒนากำลังคนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ![]() ![]() |
12. สรุปความต้องการกำลังคนใน 10 อุตสาหกรรมส่งเสริมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จำแนกตาม Mainstream Industry ![]() ![]() |