รายละเอียดการดำเนินการปรับปรุง/เปิดหลักสูตร

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาศิลปะการประกอบอาหารอย่างมืออาชีพ (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)

รหัสหลักสูตร 25630234000986
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาศิลปะการประกอบอาหารอย่างมืออาชีพ (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration Program in Professional Culinary Arts (Revised B.E.2024)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : บริหารธุรกิจบัณฑิต (ศิลปะการประกอบอาหารอย่างมืออาชีพ)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : บธ.บ. (ศิลปะการประกอบอาหารอย่างมืออาชีพ)

ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Business Administration (Professional Culinary Arts)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.B.A. (Professional Culinary Arts)
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2565
ปรับปรุงมาจาก บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาศิลปะการประกอบอาหารอย่างมืออาชีพ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)
แนวทางในการประกอบวิชาชีพ

อาชีพ

ลักษณะงาน (Job Description)

1.    ผู้ประกอบการธุรกิจบริการอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม (Entrepenuer in SMEs Foodservice Business)

เป็นเจ้าของธุรกิจรายขนาดกลางและขนาดย่อม ได้แก่

·     เจ้าของธุรกิจร้านอาหารและเครื่องดื่ม

·     ผู้ผลิตและจำหน่ายอาหาร/เบเกอรี่/ขนม

·     ผู้ให้บริการด้านการจัดเลี้ยง (Catering)

·     ผู้ด้านการออกแบบและตกแต่งอาหาร (Food Stylist)

2.    หัวหน้าพ่อครัวประจำแผนก
(Chef de partie)

ทำหน้าที่บริหารจัดการพนักงานใต้บังคับบัญชาในแผนกครัวตามประเภทของอาหาร จัดทำตารางการปฏิบัติงานของแผนก วางแผนจัดหาวัตถุดิบ วางแผนการจัดเตรียม และการประกอบอาหารด้วยเทคนิคการประกอบอาหารโดย ใช้ความร้อนชื้น ใช้ความร้อนแห้ง และใช้ความร้อนผสมผสาน การควบคุมคุณภาพการผลิต ตามมาตรฐานความปลอดภัย ตามมารฐานความปลอดภัย และการตกแต่งจานอาหาร โดยแบ่งความถนัดตามประเภทของอาหาร ได้แก่  1) อาหารไทย (Thai cuisine) 2) อาหารเอเชีย (Asian cuisine) 3) อาหารตะวันตก (Western cuisine) 4) อาหารนานาชาติ (International cuisine) 5) การ์ด มองเซร์ (Garde Manger)

3.    รองหัวหน้าพ่อครัวประจำแผนก
(Demi-Chef de partie)

ทำหน้าที่จัดการพนักงานใต้บังคับบัญชาในแผนกครัวตามประเภทของอาหาร ควบคุมการปฏิบัติงานของแผนก ควบคุมการประกอบอาหารด้วยเทคนิคการประกอบอาหารโดย ใช้ความร้อนชื้น ใช้ความร้อนแห้ง และใช้ความร้อนผสมผสาน การควบคุมคุณภาพการผลิต ตามมาตรฐานความปลอดภัย และการตกแต่งจานอาหาร โดยแบ่งความถนัดตามประเภทของอาหาร ได้แก่  1) อาหารไทย (Thai cuisine) 2) อาหารเอเชีย (Asian cuisine) 3) อาหารตะวันตก (Western cuisine) 4) อาหารนานาชาติ (International cuisine) 5) การ์ด มองเซร์ (Garde Manger)

4.    พ่อครัวประจำแผนก
(Commis chef)

ทำหน้าที่เตรียมและการประกอบอาหารตามคำสั่งของรองหัวหน้าพ่อครัวประจำแผนก เตรียมวัตถุดิบสำหรับการประกอบอาหาร และประกอบอาหารด้วยเทคนิคการประกอบอาหารโดย ใช้ความร้อนชื้น ใช้ความร้อนแห้ง และใช้ความร้อนผสมผสาน การควบคุมคุณภาพการผลิต ตามมาตรฐานความปลอดภัย และการตกแต่งจานอาหาร โดยแบ่งความถนัดตามประเภทของอาหาร ได้แก่  1) อาหารไทย (Thai cuisine) 2) อาหารเอเชีย (Asian cuisine) 3) อาหารตะวันตก (Western cuisine) 4) อาหารนานาชาติ (International cuisine) 5) การ์ด มองเซร์ (Garde Manger)

5.    นักพัฒนาและออกแบบรายการอาหาร

คิดค้นสูตรอาหาร วางแผนตั้งแต่กระบวนการคัดเลือกวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพ ปรับปรุงพัฒนา โดยอาศัยองค์ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค

6.    อาชีพในอุตสาหกรรมบริการและอุตสาหกรรมบริการอาหาร

ประกอบอาชีพในตำแหน่งต่าง ๆ ได้แก่

·       บุคลากรด้านการจัดการอาหารและเครื่องดื่ม

·       บุคลากรด้านงานจัดเลี้ยงและการจัดงาน

·       บุคลากรด้านการสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ และการตลาดธุรกิจบริการอาหาร

·       บุคลากรด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในการฝึกอบรมและการประกอบอาหารตามมาตรฐาน

·       บุคลากรด้านการออกแบบและสร้างสรรค์รายการอาหาร และอาหารร่วมสมัย

7.    ที่ปรึกษาด้านอุตสาหกรรมบริการอาหาร

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการให้คำแนะนำและคำปรึกษาในการคิดค้นสูตรอาหาร การออกแบบรายการอาหาร กระบวนการผลิต ควบคุมคุณภาพ การส่งเสริมทางการตลาด การส่งเสริมการบริโภค การจัดตั้งร้านอาหารและการจัดทำระบบมาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมบริการอาหาร

8.    อาชีพในหน่วยงานภาครัฐ

·      เจ้าหน้าที่และนักวิชาการด้านอาหาร

·      อาจารย์และนักวิชาการด้านอาหาร ระดับ ปวช. ปวส.

·      นักวิจัย ค้นคว้า และพัฒนาสูตรอาหาร

ปีที่สภามวล. อนุมัติ 2566
ภาค/ปีที่เปิดสอน 1/2567
ปี ที่ต้องประเมิน/ปรับปรุงให้แล้วเสร็จ 2571
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ล่าสุด)

1. อาจารย์ปวิธ ตันสกุล
2. ผศ.ดร.เพ็ญศิริ แก้วทอง
3. อาจารย์สุนทร บุญแก้ว
4. อาจารย์ ดร.สุขุมาล กล่ำแสงใส
5. อาจารย์ ดร.อัจฉรา แสนคม

1. อาจารย์ปวิธ ตันสกุล
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญศิริ แก้วทอง
3. อาจารย์สุนทร บุญแก้ว
4. อาจารย์ ดร.สุขุมาล กล่ำแสงใส
5. อาจารย์ ดร.อัจฉรา แสนคม

ผ่านสภาวิชาการ : ครั้งที่ 10/2566 วันที่ 25 ตุลาคม 2566
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ล่าสุด)

1. อาจารย์ปวิธ ตันสกุล
2. ผศ.ดร.เพ็ญศิริ แก้วทอง
3. อาจารย์สุนทร บุญแก้ว
4. อาจารย์ ดร.สุขุมาล กล่ำแสงใส
5. อาจารย์ ดร.อัจฉรา แสนคม

1. อาจารย์ปวิธ ตันสกุล
2. ผศ.ดร.เพ็ญศิริ แก้วทอง
3. อาจารย์สุนทร บุญแก้ว
4. อาจารย์ ดร.สุขุมาล กล่ำแสงใส
5. อาจารย์ ดร.อัจฉรา แสนคม

การพิจารณาโดยคณะกรรมการประจำสำนักวิชา ประชุมครั้งที่/ปี : 7/2566 วันที่ : 4 กันยายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ประชุมครั้งที่/ปี : -
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ประชุมครั้งที่/ปี : 10/2566 วันที่ : 25 ตุลาคม 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประชุมครั้งที่/ปี : 11/2566 วันที่ : 9 ธันวาคม 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก สป.อว. วันที่เริ่มกระบวนการปัจจุบัน : 31 ธันวาคม 2566
วันที่ครบกำหนดรับทราบ : 15 มกราคม 2567
สถานะการพิจาณาโดย สป.อว. : S/1 ส่งไป สป.อว. เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก กคศ.
การรับรองคุณวุฒิจาก กพ.
แบบรายงานการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

หมายเหตุ สถานะการพิจาณาโดย สป.อว.
1. W=รอส่งจากสำนักวิชา
2. W1=ส่งไประดับมหาวิทยาลัย
3. S/ครั้งที่(Date) = ส่งไป สป.อว. แล้ว (เมื่อวันที่)
4. E/ครั้งที่(date) = ส่งให้มหาวิทยาลัยแก้ไข
5. A1/ครั้งที่(date) = หัวหน้าฝ่าย (ตรวจสอบ)
6. A2/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการกลุ่ม (ตรวจสอบ)
7. A3/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการสำนัก (ตรวจสอบ)
8. A4/ครั้งที่(date) = รองเลขาธิการ (ตรวจสอบ)
9. P/1 = พิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว
Top