ผู้เรียนเชิงรุก


ลักษณะของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)


1. พัฒนาศักยภาพทางสมอง เช่น การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ เป็นต้น
2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้
3. พัฒนาผู้เรียนให้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมีวิจารณญาณในการเลือกข้อมูลมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งสามารถพัฒนาความรู้ได้ด้วยตนเอง
4. พัฒนาความรับผิดชอบร่วมกันของผู้เรียน และฝึกการมีวินัยในการทำงาน
5. พัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น เช่น การให้เกียรติเพื่อนร่วมงาน การรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นต้น
6. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแสวงหาความรู้
7. พัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสาร และการนำเสนอข้อมูล 8. พัฒนาให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกสาธารณะ

Characteristics of Active Learning
Active learning is believed to:-
1. Enhance brain potential in, e.g. thinking, problem-solving and application of knowledge;
2. Involve the learner in the process of learning;
3. Train the learner to be self-directed and conscientiously selective in getting information for use;
4. Develop self-discipline and collective responsibility among learners;
5. Develop teamwork skills in showing proper attitude towards team members, listening to others’ viewpoints and giving support;
6. Develop IT skills and ability to choose the right technology to access sources of information;
7. Develop communication and presentation skills;
8.Develop service mind in the learners. (Approved by WU Active Learning Committee at a meeting on 23 December 2011)

เอกสารอ้างอิง
1. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). อภิธานศัพท์การประกันคุณภาพการศึกษา (QA Glossary). 2553
2. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการวิจัยการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นตัวผู้เรียน
เป็นสำคัญ ตั้งแต่ พ.ศ. 2542-2547. 2548.
3. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553
4. รายงานการประชุมคณะทำงานโครงการพัฒนาการเรียนรู้สู่ Active Learning เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554 ศักดา ไชกิจภิญโญ. สอนอย่างไรให้
Active Learning. วารสารนวัตกรรมการเรียนการสอน. ปีที่2 ฉบับที่ 2. (พฤษภาคม – สิงหาคม 2548 ) หน้า 12 -15.
6. หรรษา นิลวิเชียร. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : บทบาทสำคัญของครู. วารสารศึกษาศาสตร์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม 2546) หน้า 105 – 111.
7. What is Active Learning? University of Minnesota.เอกสารจาก เว็บไซด์ http:// www.umn.edu/ohr
8. Kathleen McKinney. Active Learning. เอกสารจาก เว็บไซด์ http://www.cat.ilstu.edu/

Top