รายละเอียดการดำเนินการปรับปรุง/เปิดหลักสูตร

นิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)

รหัสหลักสูตร 25570231102247
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : นิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Law (Revised B.E.2024)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : นิติศาสตรบัณฑิต
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : น.บ.

ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Laws
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : LL.B.
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2565
ปรับปรุงมาจาก นิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
แนวทางในการประกอบวิชาชีพ

อาชีพ

ลักษณะงาน (Job Description)

ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ

ผู้พิพากษา: ควบคุมการดำเนินกระบวนพิจารณาคดี ออกข้อกำหนดเพื่อรักษาความเรียบร้อยในบริเวณศาลและเพื่อให้กระบวนพิจารณาดำเนินไปโดยเที่ยงธรรม, พิพากษาชี้ขาดตัดสินคดีทั้งทางแพ่งและทางอาญา

พนักงานอัยการ:อำนวยความยุติธรรมในสังคม และ รักษาผลประโยชน์ของรัฐ ในคดีอาญามีฐานะเป็นโจทก์แทนแผ่นดิน มีอำนาจและหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่นในด้านคดีแพ่ง มีอำนาจและหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านกฎหมายแก่ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ

นายทหารพระธรรมนูญ

สืบสวนสอบสวนคดีอาญา คดีทางปกครอง และคดีทางวินัย เป็นที่ปรึกษากฎหมาย พิจารณาและเสนอความเห็นทางกฎหมายแก่ผู้บังคับบัญชา ตรวจร่างสัญญาต่าง ๆ ของราชการทหาร เช่น สัญญาจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาบรรจุเข้ารับราชการ ฯลฯ ร่วมฟังการสอบสวนกับพนักงานสอบสวนในกรณีที่ทหารเป็นผู้เสียหาย หรือตกเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญา เป็นผู้แทนคดีของกองทัพบก หรือกระทรวงกลาโหม ในการแจ้งความร้องทุกข์คดีอาญา หรือดำเนินคดีหรือต่อสู้คดีทางแพ่ง การยกร่างกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับหน่วยทหารนั้น เป็นครู อาจารย์ สอนวิชากฎหมายในโรงเรียนทหาร หรืออบรมกำลังพลในเรื่องกฎหมายทหารต่าง ๆ เช่น กฎหมายสงคราม กฎการใช้กำลังและกฎหมายอื่น ๆ หน้าที่อื่นๆ เช่น การไปปฏิบัติหน้าที่ในกองกำลังต่าง ๆ ในต่างประเทศ การเข้าร่วมประชุมสัมมนาหรืออบรมตามหลักสูตรต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ

ทนายความ

ทำหน้าที่เป็นตัวแทนในทางกฎหมายเพื่อดำเนินการแทนคู่ความทั้งทางแพ่งและอาญา ว่าความ และดำเนินกระบวนการพิจารณาใดๆในศาลแทนคู่ความทั้งในคดีแพ่งและคดีอาญา

บุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ เช่น นักการทูต / นักกฎหมายภาครัฐ เช่น นิติกร พนักงานคดีปกครอง ปลัดอำเภอหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

การตรวจและปรับยกร่างกฎหมาย, การดําเนินการทางวินัยของข้าราชการ ลูกจ้างประจํา หรือพนักงานราชการประจําส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐแล้วแต่กรณี เช่น การพิจารณาข้อร้องเรียน ข้อกล่าวหา บัตรสนเท่ห์การตั้งเรื่องกล่าวหา การสืบสวน การสอบสวนทางวินัย การพิจารณาความผิดและการกําหนดโทษการสั่งพักราชการ หรือการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน และการลงโทษข้าราชการที่กระทําผิดวินัย, การดําเนินมาตรการทางปกครอง

นักกฎหมายภาคเอกชน เช่น ที่ปรึกษากฎหมายในบริษัทเอกชน หรือทำงานในภาคประชาสังคม

ให้คำแนะนำทางด้านกฎหมายต่อหน่วยงาน องค์กรของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน, ให้คำแนะนำเรื่องของข้อคิดเห็นด้านร่างพระราชบัญญัติ กฎ คำสั่ง ระเบียบข้อบังคับรวมถึงเอกสารอันเกี่ยวข้องกับกฎหมายอื่นๆ ด้วย, จัดการด้านร่างพระราชบัญญัติและเอกสารต่างๆ ตามที่องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ต้องการ, ทำหน้าที่ตีความเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ ข้อผูกพันต่างๆ ทางด้านกฎหมายซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสถานประกอบการเพื่อให้ฝ่ายจัดการที่อยู่ในระดับสูงกว่ารับทราบ, ให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ทนายความประจำสถานประกอบการเกี่ยวกับเรื่องของการว่าความในคดีต่างๆ ทางชั้นศาล

พนักงานสอบสวน (ข้าราชการตำรวจ)

มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน การสอบสวนหมายความถึงการรวบรวมพยานหลักฐาน และการดำเนินการทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ ซึ่งพนักงานสอบสวนได้ทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือการพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาฟ้องลงโทษ

ปีที่สภามวล. อนุมัติ 2566
ภาค/ปีที่เปิดสอน 1/2567
ปี ที่ต้องประเมิน/ปรับปรุงให้แล้วเสร็จ 2571
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ล่าสุด)

1. ผศ.จินตนา อุณหะไวทยะ
2. อาจารย์อมรรัตน์ อำมาตเสนา
3. ผศ.ศิวรุฒ ลายคราม
4. ผศ.ดร.วชิราภรณ์ พวงจินดา
5. อาจารย์ณุวัฒน์ ตาตุ

1. ผศ.จินตนา อุณหะไวทยะ
2. อาจารย์อมรรัตน์ อำมาตเสนา
3. ผศ.ศิวรุฒ ลายคราม
4. ผศ.ดร.วชิราภรณ์ พวงจินดา
5. อาจารย์ณุวัฒน์ ตาตุ

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ล่าสุด)

1. ผศ.จินตนา อุณหะไวทยะ
2. อาจารย์อมรรัตน์ อำมาตเสนา
3. ผศ.ศิวรุฒ ลายคราม
4. ผศ.ดร.วชิราภรณ์ พวงจินดา
5. อาจารย์ณุวัฒน์ ตาตุ

1. ผศ.จินตนา อุณหะไวทยะ
2. อาจารย์อมรรัตน์ อำมาตเสนา
3. ผศ.ศิวรุฒ ลายคราม
4. ผศ.ดร.วชิราภรณ์ พวงจินดา
5. อาจารย์ณุวัฒน์ ตาตุ

การพิจารณาโดยคณะกรรมการประจำสำนักวิชา ประชุมครั้งที่/ปี : 18/2566 วันที่ : 6 พฤศจิกายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ประชุมครั้งที่/ปี : -
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ประชุมครั้งที่/ปี : ครั้งพิเศษที่ 5/2566 วันที่ : 20 พฤศจิกายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประชุมครั้งที่/ปี : 11/2566 วันที่ : 9 ธันวาคม 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก สป.อว. วันที่เริ่มกระบวนการปัจจุบัน : 31 ธันวาคม 2566
วันที่ครบกำหนดรับทราบ : 15 มกราคม 2567
สถานะการพิจาณาโดย สป.อว. : S/1 ส่งไป สป.อว. เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก กคศ.
การรับรองคุณวุฒิจาก กพ.
แบบรายงานการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

หมายเหตุ สถานะการพิจาณาโดย สป.อว.
1. W=รอส่งจากสำนักวิชา
2. W1=ส่งไประดับมหาวิทยาลัย
3. S/ครั้งที่(Date) = ส่งไป สป.อว. แล้ว (เมื่อวันที่)
4. E/ครั้งที่(date) = ส่งให้มหาวิทยาลัยแก้ไข
5. A1/ครั้งที่(date) = หัวหน้าฝ่าย (ตรวจสอบ)
6. A2/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการกลุ่ม (ตรวจสอบ)
7. A3/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการสำนัก (ตรวจสอบ)
8. A4/ครั้งที่(date) = รองเลขาธิการ (ตรวจสอบ)
9. P/1 = พิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว
Top