รายละเอียดการดำเนินการปรับปรุง/เปิดหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)

รหัสหลักสูตร 25500231105298
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Interactive Multimedia, Animation, and Game (Revised B.E.2024)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (อินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : วท.บ. (อินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม)

ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Interactive Multimedia, Animation, and Game)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.Sc. (Interactive Multimedia, Animation, and Game)
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2565
ปรับปรุงมาจาก วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
แนวทางในการประกอบวิชาชีพ

อาชีพ

ลักษณะงาน (Job Description)

1. 3D Model Artist 

ทำหน้าที่สร้างโมเดล 3 มิติโดยใช้ซอฟต์แวร์ 3 มิติเพื่อสร้างสิ่งของหรือตัวละครตามที่กำหนด

2. 3D Animator

ทำหน้าที่สร้างการเคลื่อนไหวให้กับโมเดล 3 มิติผ่านการใช้ซอฟต์แวร์แอนิเมชัน เพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหวที่สมจริงและสื่อถึงเรื่องราว

3. 3D Rigger

ทำหน้าที่สร้างโครงสร้างในการโมเดล 3 มิติ เพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างถูกต้องและสมจริง รวมถึงจัดการการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนรูปร่างของตัวละครหรือวัตถุ

4. 3D Generalist

ทำหน้าที่แก้ปัญหาโดยทั่วไปของงาน 3 มิติในการผลิตสื่ออินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน หรือเกม มีความรู้ทั่วไปในการทำโมเดล แอนิเมชัน การออกแบบตัวละคร และอื่นๆ เป็นผู้ที่สามารถรับผิดชอบได้หลายหน้าที่ในกระบวนการผลิตสื่อ 3 มิติ

5. Illustrator

ศิลปินวาดภาพประกอบหรือภาพวาดที่ใช้ในสื่อดิจิทัลคอนเทนต์ต่างๆ เพื่อสร้างภาพที่สื่อความหมายและแสดงอารมณ์ตามคำอธิบายหรือแนวคิดที่กำหนด

6. Concept Artist

ศิลปินที่สร้างแนวคิดและร่างแบบเริ่มต้นของตัวละคร สถานที่ วัตถุ หรือสิ่งที่ใช้ในสื่อบันเทิง เพื่อแสดงให้เห็นถึงความรูปแบบและความคิดเชิงสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ออกแบบงานออกแบบต่างๆ ในขั้นตอน Pre-Production

7. Storyboard Artist

ศิลปินที่สร้างภาพเรื่องราวของฉากหรือภาพนิ่งที่เป็นตัวอย่างในการกำหนดฉากและการเคลื่อนไหวในการผลิตสื่ออินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน หรือเกม

8. Comic Artist

ศิลปินที่สร้างการ์ตูนหรือหนังสือการ์ตูน ทำงานเพื่อสร้างรูปแบบการเล่าเรื่องที่ประกอบด้วยภาพและข้อความ เพื่อสร้างความเข้าใจและความตื่นเต้นให้กับผู้อ่าน

9. Character Designer

นักออกแบบตัวละครที่สร้างและพัฒนาตัวละครใหม่ รวมถึงการออกแบบรูปทรง สี และลักษณะที่แสดงออกเกี่ยวกับตัวละคร เพื่อใช้ในสื่ออินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน หรือเกม

10. 2D Animator

นักสร้างแอนิเมชัน 2 มิติที่ใช้การวาดและสร้างภาพเคลื่อนไหวให้กับภาพ 2 มิติ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหวที่สร้างความรู้สึกและเรื่องราว

11. Game Programmer 

นักพัฒนาโปรแกรมเกมที่พัฒนาระบบต่างๆ ในเกม รวมถึงการเขียนโค้ด ออกแบบโครงสร้างข้อมูล และการทดสอบเพื่อให้เกมทำงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามการออกแบบเกมที่กำหนด

12. Game Designer

นักออกแบบเกมที่รับผิดชอบในการสร้างแนวคิด, กฎเกม, และระบบเกม รวมถึงการวางแผนระดับระบบและระดับรายละเอียดของเกมเพื่อให้มีประสบการณ์เล่นเกมที่น่าสนใจและมีความท้าทาย

13. Game Artist 

ศิลปินที่รับผิดชอบในการสร้างภาพและกราฟิกที่ใช้ในเกม รวมถึงภาพพื้นหลัง ตัวละคร วัตถุ และอินเตอร์เฟซในเกม เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์และสร้างประสบการณ์ที่น่าตื่นเต้นให้กับผู้เล่น

14. Graphic Designer

นักออกแบบกราฟิกที่รับผิดชอบในการสร้างงานศิลปะกราฟิกในรูปแบบต่างๆ เช่น โลโก้ กราฟิกบนเว็บ และงานพิมพ์ต่างๆ เพื่อสร้างภาพลักษณ์และสื่อสารให้กับผู้ชมหรือผู้ใช้

15. UX/UI Designer

นักออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้และอินเตอร์เฟซที่รับผิดชอบในการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้และการจัดวางอินเตอร์เฟซในเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน เพื่อสร้างประสบการณ์การใช้งานที่มีประสิทธิภาพและเข้าใจง่ายให้กับผู้ใช้

16. อื่นๆ

ทำอาชีพต่างๆ ที่ต้องการความสามารถในด้านอินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย แอนิเมชัน หรือเกม เช่น ครู อาจารย์ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่สื่อ เจ้าของกิจการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ

ปีที่สภามวล. อนุมัติ 2566
ภาค/ปีที่เปิดสอน 1/2567
ปี ที่ต้องประเมิน/ปรับปรุงให้แล้วเสร็จ 2571
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ล่าสุด)

วิชาเอกแอนิเมชัน
1. ผศ.ดร.เชาวนันท์ ขุนดำ
2. ผศ.ดร.วรัญญู วรชาติ
3. อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์
วิชาเอกดิจิทัลเกม
1. ผศ.ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา
2 . อาจารย์ ดร.ศศิธร รัตนรุ่งโรจน์
3. อาจารย์ ดร.พรพล ธรรมรงค์รัตน์

วิชาเอกแอนิเมชัน
1. ผศ.ดร.เชาวนันท์ ขุนดำ
2. ผศ.ดร.วรัญญู วรชาติ
3. อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์
วิชาเอกดิจิทัลเกม
1. ผศ.ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา
2 . อาจารย์ ดร.ศศิธร รัตนรุ่งโรจน์
3. อาจารย์ ดร.พรพล ธรรมรงค์รัตน์

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ล่าสุด)

1. ผศ.ดร.เชาวนันท์ ขุนดำ
2. ผศ.ดร.วรัญญู วรชาติ
3. อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์
4. ผศ.ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา
5 . อาจารย์ ดร.ศศิธร รัตนรุ่งโรจน์
6. อาจารย์ ดร.พรพล ธรรมรงค์รัตน์
7. ผศ.วาลุกา เอมเอก
8. อาจารย์ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล

1. ผศ.ดร.เชาวนันท์ ขุนดำ
2. ผศ.ดร.วรัญญู วรชาติ
3. อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์
4. ผศ.ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา
5 . อาจารย์ ดร.ศศิธร รัตนรุ่งโรจน์
6. อาจารย์ ดร.พรพล ธรรมรงค์รัตน์
7. ผศ.วาลุกา เอมเอก
8. อาจารย์ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล

การพิจารณาโดยคณะกรรมการประจำสำนักวิชา ประชุมครั้งที่/ปี : 18/2566 วันที่ : 26 มิถุนายน 2567
การพิจารณาโดยคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ประชุมครั้งที่/ปี : -
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ประชุมครั้งที่/ปี : ครั้งพิเศษที่ 5/2566 วันที่ : 20 พฤศจิกายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประชุมครั้งที่/ปี : 11/2566 วันที่ : 9 ธันวาคม 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก สป.อว. วันที่เริ่มกระบวนการปัจจุบัน : 31 ธันวาคม 2566
วันที่ครบกำหนดรับทราบ : 15 มกราคม 2567
สถานะการพิจาณาโดย สป.อว. : S/1 ส่งไป สป.อว. เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก กคศ.
การรับรองคุณวุฒิจาก กพ.
แบบรายงานการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

หมายเหตุ สถานะการพิจาณาโดย สป.อว.
1. W=รอส่งจากสำนักวิชา
2. W1=ส่งไประดับมหาวิทยาลัย
3. S/ครั้งที่(Date) = ส่งไป สป.อว. แล้ว (เมื่อวันที่)
4. E/ครั้งที่(date) = ส่งให้มหาวิทยาลัยแก้ไข
5. A1/ครั้งที่(date) = หัวหน้าฝ่าย (ตรวจสอบ)
6. A2/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการกลุ่ม (ตรวจสอบ)
7. A3/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการสำนัก (ตรวจสอบ)
8. A4/ครั้งที่(date) = รองเลขาธิการ (ตรวจสอบ)
9. P/1 = พิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว
Top