รายละเอียดการดำเนินการปรับปรุง/เปิดหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)

รหัสหลักสูตร 25500231104894
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Intelligent Information Technology (Revised B.E.2024)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ)

ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Intelligent Information Technology)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.Sc. (Intelligent Information Technology)
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2565
ปรับปรุงมาจาก วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
แนวทางในการประกอบวิชาชีพ

อาชีพ

ลักษณะงาน (Job Description)

1. วิศวกรปัญญาประดิษฐ์ (AI Engineer/ Machine Learning Engineer)

การออกแบบและพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อให้มีความสามารถในการเรียนรู้และประมวลผลข้อมูลได้ รวมถึงการวิเคราะห์ การเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างระบบปัญญาประดิษฐ์ การออกแบบและสร้างโมเดลปัญญาประดิษฐ์

2. นักพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI System Developer)

การวิเคราะห์และออกแบบระบบปัญญาประดิษฐ์ การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ การเขียนและทดสอบโปรแกรม และการปรับปรุงระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน

3. นักวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI Researcher)

ผู้วิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาโมเดลและอัลกอริทึมปัญญาประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านปัญญาประดิษฐ์

4. นักพัฒนาโปรแกรมส่วนหน้า (Frontend Developer)

พัฒนาเว็บแอปพลิเคชันส่วนติดต่อกับผู้ใช้ให้มีความสวยงามและใช้งานได้สะดวกสบายต่อผู้ใช้งาน

5. นักพัฒนาโปรแกรมส่วนหลัง (Backend Developer)

พัฒนาแอปพลิเคชันที่เป็นส่วนของการจัดการข้อมูลและการประมวลผลของระบบเพื่อให้ระบบสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6. นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนมือถือ (Mobile Developer)

ออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์มือถือเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ง่าย

7. นักพัฒนาโปรแกรมแบบครบวงจร (Full Stack Developer)

พัฒนาโปรแกรมประยุกต์แบบครบวงจร เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญทั้งด้าน Frontend และ Backend

8. นักวิเคราะห์ข้อมูล/นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Analyst/Data Scientist)

                             

การวิเคราะห์และแปลงข้อมูลเป็นความรู้ หรือออกแบบและสร้างโมเดลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และพยากรณ์ข้อมูล เช่น Machine Learning, Deep Learning, Neural Networks ที่สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจในองค์กร

9. นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (Computer Technical Officer)

รับผิดชอบงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร เช่น งานด้านการเขียนโปรแกรม หรือการดูแลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานภาครัฐ

ปีที่สภามวล. อนุมัติ 2566
ภาค/ปีที่เปิดสอน 1/2567
ปี ที่ต้องประเมิน/ปรับปรุงให้แล้วเสร็จ 2571
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ล่าสุด)

1. ผศ.ดร.ณิชนันทน์ กิตติพัฒนบวร
2. ผศ.ดร.สุภาภรณ์ ใจรังษี
3. ผศ.กาญจนา หฤหรรษพงศ์
4. อาจารย์จงสุข คงเสน
5. อาจารย์จักริน วีแก้ว

1. ผศ.ดร.ณิชนันทน์ กิตติพัฒนบวร
2. ผศ.ดร.สุภาภรณ์ ใจรังษี
3. ผศ.กาญจนา หฤหรรษพงศ์
4. อาจารย์จงสุข คงเสน
5. อาจารย์จักริน วีแก้ว

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ล่าสุด)

1. ผศ.ดร.ณิชนันทน์ กิตติพัฒนบวร
2. ผศ.ดร.สุภาภรณ์ ใจรังษี
3. ผศ.กาญจนา หฤหรรษพงศ์
4. อาจารย์จงสุข คงเสน
5. อาจารย์จักริน วีแก้ว
6. รศ.ดร.ยรรยงค์ พันธ์สวัสดิ์
7. อาจารย์ ดร.ชนันท์กรณ์ จันแดง
8. ผศ.ดร.ชาลี แก้วรัตน์
9. อาจารย์ ดร.ธีรัช สายชู
10. ผศ.ดร.บูคอรี ซาเหาะ
11. อาจารย์ ดร.พีรวิชญ์ เควด
12. อาจารย์ ดร.ศิริรัตน์ สมเชื้อ
13. ผศ.เจริญพร บัวแย้ม

1. ผศ.ดร.ณิชนันทน์ กิตติพัฒนบวร
2. ผศ.ดร.สุภาภรณ์ ใจรังษี
3. ผศ.กาญจนา หฤหรรษพงศ์
4. อาจารย์จงสุข คงเสน
5. อาจารย์จักริน วีแก้ว
6. รศ.ดร.ยรรยงค์ พันธ์สวัสดิ์
7. อาจารย์ ดร.ชนันท์กรณ์ จันแดง
8. ผศ.ดร.ชาลี แก้วรัตน์
9. อาจารย์ ดร.ธีรัช สายชู
10. ผศ.ดร.บูคอรี ซาเหาะ
11. อาจารย์ ดร.พีรวิชญ์ เควด
12. อาจารย์ ดร.ศิริรัตน์ สมเชื้อ
13. ผศ.เจริญพร บัวแย้ม

การพิจารณาโดยคณะกรรมการประจำสำนักวิชา ประชุมครั้งที่/ปี : 18/2566 วันที่ : 26 มิถุนายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ประชุมครั้งที่/ปี : -
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ประชุมครั้งที่/ปี : ครั้งพิเศษที่ 4/2566 วันที่ : 16 พฤศจิกายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประชุมครั้งที่/ปี : 11/2566 วันที่ : 9 ธันวาคม 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก สป.อว. วันที่เริ่มกระบวนการปัจจุบัน : 31 ธันวาคม 2566
วันที่ครบกำหนดรับทราบ : 15 มกราคม 2567
สถานะการพิจาณาโดย สป.อว. : S/1 ส่งไป สป.อว. เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก กคศ.
การรับรองคุณวุฒิจาก กพ.
แบบรายงานการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

หมายเหตุ สถานะการพิจาณาโดย สป.อว.
1. W=รอส่งจากสำนักวิชา
2. W1=ส่งไประดับมหาวิทยาลัย
3. S/ครั้งที่(Date) = ส่งไป สป.อว. แล้ว (เมื่อวันที่)
4. E/ครั้งที่(date) = ส่งให้มหาวิทยาลัยแก้ไข
5. A1/ครั้งที่(date) = หัวหน้าฝ่าย (ตรวจสอบ)
6. A2/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการกลุ่ม (ตรวจสอบ)
7. A3/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการสำนัก (ตรวจสอบ)
8. A4/ครั้งที่(date) = รองเลขาธิการ (ตรวจสอบ)
9. P/1 = พิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว
Top