รายละเอียดการดำเนินการปรับปรุง/เปิดหลักสูตร

นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)

รหัสหลักสูตร 25490231104307
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2567)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Communication Arts Program in Digital Communication Arts (Revised B.E.2024)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : นิเทศศาสตรบัณฑิต (นิเทศศาสตร์ดิจิทัล)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : นศ.บ. (นิเทศศาสตร์ดิจิทัล)

ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Communication Arts(Digital Communication Arts)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.Com.Arts. (Digital Communication Arts)
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2565
ปรับปรุงมาจาก นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562)
แนวทางในการประกอบวิชาชีพ

อาชีพ

ลักษณะงาน (Job Description)

1) อาชีพด้านการสร้างสรรค์เนื้อหาในสื่อ (Content Creative)

- ผู้สร้างสรรค์เนื้อหาในสื่อออนไลน์ (Online Content Creator / Digital Content Creator)

- อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer)

- นักเล่าเรื่อง (Storyteller)

- ครีเอทีฟ (Creative)

- ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)

สร้างสรรค์และจัดการเนื้อหาให้เหมาะสมกับสื่อรูปแบบต่างๆ โดยมีกระบวนการดังนี้

- วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย

- ค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูล

- กำหนดวัตถุประสงค์และแนวคิด

- สร้างสรรค์เนื้อหา และเผยแพร่

- วัดและประเมินผล

 

2) อาชีพด้านการผลิตสื่อ (Production)

- ผู้กำกับ (Director)

- นักออกแบบกราฟิก (Graphic Designer)

- ช่างภาพ (Photographer)

- ช่างภาพวิดีโอ (Camera man)

- ผู้ลำดับภาพ (Video Editor)

- ผู้จัดการกองถ่าย (Production Manager)

- ผู้อำนวยการการผลิต (Producer)

- ทำงานในอุตสาหกรรมสื่อในตำแหน่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อ

- ใช้ทักษะการใช้เทคโนโลยี อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ เพื่อการผลิตสื่อ

- เน้นการทำงานเป็นทีม สามารถวางแผน ออกแบบ สร้างสรรค์สื่อ ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า

 

3) อาชีพด้านผู้ประกอบการธุรกิจสื่อ (Entrepreneur)

- ยูทูปเปอร์ (YouTuber)

- ช่างภาพอิสระ (Freelance photographer)

- ผู้อำนวยการบริหารการผลิต (Production company executive)

- นักจัดอีเว้นท์ (Event organizer)

- พัฒนากลยุทธ์การสื่อสารและทำงาน

- พัฒนากลยุทธ์การขายและการพัฒนาธุรกิจที่แข่งขันได้

- สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า

- ประเมินกลยุทธ์ กระบวนการพัฒนาธุรกิจ และวิเคราะห์

ความเป็นไปได้ในการพัฒนาธุรกิจด้านสื่อ

- เจรจาและนำเสนองาน เพื่อแข่งขันเชิงธุรกิจ

4) อาชีพในหน่วยงานของรัฐ และเอกชน (Government and private sector)

- นักประชาสัมพันธ์

- นักสื่อสารมวลชน

- เจ้าหน้าที่ผลิตสื่อและสารสนเทศ

- นักสื่อสารการตลาด

- รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์และวางแผนข้อมูลด้านการสร้างสรรค์สื่อให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

- วางแผนกลยุทธ์ กำหนดนโยบาย ด้านการสื่อสาร

- ติดตามผลการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน

 

ปีที่สภามวล. อนุมัติ 2566
ภาค/ปีที่เปิดสอน 1/2567
ปี ที่ต้องประเมิน/ปรับปรุงให้แล้วเสร็จ 2571
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ล่าสุด)

1. อาจารย์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์
2. อาจารย์ ดร.รจเรศ ณรงค์ราช
3. อาจารย์ธนภร เจริญธัญสกุล
4. อาจารย์วรรณรัตน์ นาที
5. อาจารย์บุศรินทร์ นันทะเขต

1. อาจารย์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์
2. อาจารย์ ดร.รจเรศ ณรงค์ราช
3. อาจารย์ธนภร เจริญธัญสกุล
4. อาจารย์วรรณรัตน์ นาที
5. อาจารย์บุศรินทร์ นันทะเขต

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร) รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร (ล่าสุด)

1. อาจารย์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์
2. อาจารย์ ดร.รจเรศ ณรงค์ราช
3. อาจารย์ธนภร เจริญธัญสกุล
4. อาจารย์วรรณรัตน์ นาที
5. อาจารย์บุศรินทร์ นันทะเขต
6. ผศ.ดร.ฟารีดา เจะเอาะ

1. อาจารย์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์
2. อาจารย์ ดร.รจเรศ ณรงค์ราช
3. อาจารย์ธนภร เจริญธัญสกุล
4. อาจารย์วรรณรัตน์ นาที
5. อาจารย์บุศรินทร์ นันทะเขต
6. ผศ.ดร.ฟารีดา เจะเอาะ

การพิจารณาโดยคณะกรรมการประจำสำนักวิชา ประชุมครั้งที่/ปี : 18/2566 วันที่ : 26 มิถุนายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ประชุมครั้งที่/ปี : -
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ประชุมครั้งที่/ปี : ครั้งพิเศษที่ 4/2566 วันที่ : 16 พฤศจิกายน 2566
การพิจารณาโดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประชุมครั้งที่/ปี : 11/2566 วันที่ : 9 ธันวาคม 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก สป.อว. วันที่เริ่มกระบวนการปัจจุบัน : 31 ธันวาคม 2566
วันที่ครบกำหนดรับทราบ : 15 มกราคม 2567
สถานะการพิจาณาโดย สป.อว. : S/1 ส่งไป สป.อว. เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2566
การรับรองคุณวุฒิจาก กคศ.
การรับรองคุณวุฒิจาก กพ.
แบบรายงานการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

หมายเหตุ สถานะการพิจาณาโดย สป.อว.
1. W=รอส่งจากสำนักวิชา
2. W1=ส่งไประดับมหาวิทยาลัย
3. S/ครั้งที่(Date) = ส่งไป สป.อว. แล้ว (เมื่อวันที่)
4. E/ครั้งที่(date) = ส่งให้มหาวิทยาลัยแก้ไข
5. A1/ครั้งที่(date) = หัวหน้าฝ่าย (ตรวจสอบ)
6. A2/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการกลุ่ม (ตรวจสอบ)
7. A3/ครั้งที่(date) = ผู้อำนวยการสำนัก (ตรวจสอบ)
8. A4/ครั้งที่(date) = รองเลขาธิการ (ตรวจสอบ)
9. P/1 = พิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว
Top